วันพุธที่ 12 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2557

บันทึกอนุทินครั้งที่ 9

บันทึกอนุทินครั้งที่ 9



วันศุกร์ ที่ 31 เดือน มกราคม 2557

เวลา 14.10-17.30

      การเรียนในครั้งนี้เรียนอาจารย์ให้นำเสนอสื่อที่ทำมาโดยให้แต่ละกลุ่มออกมาบอกผลงานของตน
โดยกลุ่มที่เสนอมีทั้งหมด 25 กลุ่มโดยมีดังต่อไปนี้
- ตามหาคู่แท้  - นับเลขซูชิ - วงล้อมหาสนุก - ฝาแฝด - รูปทรงหรรษา - กระถางลูกโป่ง
- เด็กน้อยนับเลข - ถาดไข่มหัศจรรย์ - คณิตคิดสนุก - ลูกเต๋าตามจินตนาการ - จำนวนนับ 
- จับคู่หาตัวเลข - จำนวนนับเรขาคณิต - มานับเลขกันเถอะ - มาเติมตัวเลขกันเถอะ - พีชคณิต ปู๊นๆ
- โดนัทตัวเลข - ตาชั่ว - จิ๊กซอวเรขาคณิต - ดอกไม้นับจำนวน - ฝากบอกจำนวน - 2 IN 1 - แพนกวินกินปลา - โดมิโน่เรขาคณิต - ขวดสีหรรษา - ฟันนี่ปล็อค 

ตัวอย่างของกลุ่มที่เพื่อนๆออกไปนำเสนอสื่อหน้าชั้นเรียน
นำสื่อไปใช้กับเด็กจริง

กลุ่ม จิ๊กซอเรขาคณิต


กลุ่มที่ชอบคือ

กลุ่มกระถางลูกโป่ง


กลุ่มของดิฉันคือ ดอกไม้นับจำนวน

ดอกไม้นับจำนวน


บันทึกอนุทินครั้งที่ 8

บันทึกอนุทินครั้งที่ 8



วันศุกร์ ที่ 24 เดือน มกราคม 2557



เวลา 14.10-17.30


  วันนี้อาจารย์ให้แบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 4-5 เพื่อเขียนแผนการจัดประสบบการณ์คณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย โดยให้สอดแทรกวิชาคณิตศาสตร์ผ่านกิจกรรมทั้งหมด 6 กิจกรรม คือ
- กิจกรรมเสรี เล่นตามมุม
- กิจกรรมสร้างสรรค์
- กิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ
- กิจกรรมเสริมประสบการณ์
- กิจกรรมกลางแจ้ง

- เกมการศึกษา
แผนที่กลุ่มดิฉันช่วยกันคิด

สาระการเรียนรู้ในการเขียนแผน


บันทึกอนุทินครั้งที่ 7



บันทึกอนุทินครั้งที่ 7

วันศุกร์ ที่ 17 เดือน มกราคม 2557



เวลา 14.10-17.30


วันนี้อาจารย์ให้ทำกิจกรรมกลุ่ม

ให้แต่ละกลุ่มจับฉลากว่ากลุ่มใหนจะได้ทำ แผนภูมิชนิดไหน ซึ่งมีดังต่อไปนี้



แผนภูมิที่1 คือ แผนภูมิวงกลม
แผนภูมิที่2 คือ แผนภูมิแท่ง
แผนภูมิที่3 คือ แผนภูมิตาราง
แผนภูมิวงกลม แผนภูมิแท่ง และแผนภูมิตาราง
ซึ่งกลุ่มดิฉันได้ แผนภูมิวงกลม


ตัวอย่างแผนภูมิวงกลม
แผนภูมิวงกลมของกลุ่มดิฉัน



งานชิ้นที่ 2 คืออาจารย์ให้แบ่งกลุ่ม กลุ่มละ5-6 คน ทำตัวหนอนขึ้นมาโดยใช้ สามเหลี่ยม สี่เหลี่ยม และวงกลม
เพื่อนกลุ่มอื่นช่วยกันทำงาน


เพื่อนในกลุ่มช่วยกันทำงาน
ตั้งใจค่ะ
งานสำเร็จแล้วค่ะ

บันทึกอนุทินครั้งที่ 6




บันทึกอนุทินครั้งที่ 6


วันศุกร์ ที่  10 มกราคม พ.ศ. 2557


เวลา 14.10-17.30


สาระและมาตราฐานการเรียนรู้
1. จำนวนและการดำเนินการ
2. การวัด
3. เรขาคณิต
4. พีชคณิต
5. การวิเคราะห์ข้อมูลและความน่าจะเป็น
6. ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์

คุณภาพของเด็กเมื่อจบการศึกษาปฐมวัย

1. มีความคิดเชิงคณิตศาสตร์ 
ตัวอย่าง เช่น
-จำนวนนับ1-20
-เข้าใจหลักการนับ
-รู้จักเลขฮินดูอารบิกและเลขไทย
-รู้ค่าของจำนวน
-เปรียบเทียบ เรียงลำดับ
2. มีความเข้าใจพื้นฐานเกี่ยวกับ ความยาว น้ำหนัก ปริมาตร เงิน และเวลา
ตัวอย่าง เช่น
-เปรียบเทียบเรียงลำดับ และวัดความยาว
-รู้จักเงินเหรียญและธนบัตร
-เข้าใจเกี่ยวกับช่วงเวลา

3. มีความรู้ความเข้าใจพื้นฐานทางเรขาคณิต
-ตำแหน่ง ทิศทาง ระยะทาง
-รูปเราขาคณิตสามมิติ-สองมิติ

4. มีความรู้ความเข้าใจแบบรูป ของรูปที่มีรูปร่าง ขนาด ที่สัมพันธ์กันอย่างใดอย่างหนึ่ง

5. มีส่วนร่วมในการนำเสนอข้อมูลในรูปแบบแผนภูมิอย่างง่าย

6. มีทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ที่จำเป็น


กิจกรรมในห้องเรียน








วันอังคารที่ 17 ธันวาคม พ.ศ. 2556

บันทึกอนุทิน ครั้งที่ 5

บันทึกอนุทิน ครั้งที่ 5


วันศุกร์ ที่  13 ธันวาคม  พ.ศ. 2556

เวลา 14.10-17.30

กระต่ายผู้หญิง
กิจกรรมวันนี้
อาจารย์ให้อุปรณ์มา เพื่อสร้างสื่อของแต่ละคน 
อุปกรณ์ที่ให้มา มี
1. กระดาษ A4
2.กระดาษสี
3.กาว
4.สีไม้ สีเมจิก
5.กรรไกร
และสื่อของฉันคือ กระต่าย จากจินคนาการของฉัน

กระต่ายกับดอกไม้





วันพุธที่ 11 ธันวาคม พ.ศ. 2556

บันทึกอนุทินครั้งที่ 4


บันทึกอนุทิน ครั้งที่ 4


วันศุกร์ ที่  6 ธันวาคม  พ.ศ. 2556

เวลา 14.10-17.30

กิจกรรมวันนี้ อาจารย์ให้เสนองานที่ได้รับมอบหมายไปของแต่ละกลุ่ม
กลุ่มที่ 1 การนับ

กลุ่มที่ 2 การวัด



กลุ่มที่ 3 เรขาคณิต

กลุ่มที่ 4 พีชคณิต





กลุ่มที่ 5 ความน่าจะเป็น

อาจารย์อธิบายการเล่น

บันทึกอนุทินครั้งที่3

บันทึกอนุทิน ครั้งที่ 3


วันศุกร์ ที่  22 พฤศจิกายน  พ.ศ. 2556

เวลา 14.10-17.30


จุดมุ่งหมายของการสอนคณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย

1)เพื่อให้เด็กมีความเข้าใจพื้นฐานเกี่ยวกับคณิตศาสตร์ เป็นการรู้จักคำศัพท์

2)เพื่อพัฒนามโนภาพเกี่ยวกับคณิตศาสตร์ เป็นการบวกลบ

3)เพื่อให้เด็กรู้จักและใช้กระบวนการหาคำตอบ

4)เพื่อให้เด็กฝึนฝนคณิตศาสตร์พื้นฐาน

5)เพื่อให้เด็กมีความรู้ความเข้าใจ

6)เพื่อส่งเสริมให้เด็กค้นคว้าหาคำตอบด้วยตัวเอง

ทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย

1. การสังเกต (observation)
1.1)การใช้ประสาทสัมผัสอย่างใดอย่างหนึ่งมารวมกัน

2. การจำแนกปีะเภท (classifying)
2.1)การแบ่งประเภทส่งของโดยหาเกณฑ์
2.2)เกณฑ์ในการจำแนกคือความเหมือน

3. การเปรียบเทียบ (comparing)
3.1)เด็กต้องอาศัยความสัมพันธ์ของวัตถุสิ่งของหรือเหตุการณ์ สองสิ่งขึ้นไป
3.2)เด็กต้องมีความเข้าใจเกี่ยวกับลักษณะเฉพาะของสิ่งนั้น และรู้จักคำศัพท์คณิตศาสตร์ที่ต้องใช้

4. การจัดลำดับ (ordering)
4.1)เป็นการเปรียบเทียบขั้นสูง
4.2การจัดความสำคัญวัตถุสิ่งของหรือเหตุการณ์

5. การวัด (measurement)
5.1)มีความสัมพันธ์กับความสามารถในการอนุรักษ์
5.2)การวัดสำหรับเด็กปฐมวัย ได้แก่ อุณหภูมิ ระยะทาง ความยาว น้ำหนัก ปริมาณ
*การวัดของเด็กปฐมวัย ไม่ใช่หน่วยมาตรฐานในการวัด

6. การนับ (counting)
6.1)เด็กชอบการนับแบบท่องจับโดยไม่เข้าใจความหมาย
6.2)การนับแบบท่องจำ จะมีความหมายต่อเมื่อเชื่อมโยงกับจุดประสงค์บางอย่าง

7. รูปทรงและขนาด (sharp and size)
7.1)เด็กส่วนใหญ่มีความรู้เกี่ยวกับรูปทรง และขนาดก่อนที่จะเข้าเรียน

กิจกรรมวันนี้
อาจารย์ให้วาดรูปวงกลม แล้วให้ นักศึกษา เขียนตัวเลขลงไปในวงกลม ว่า ชอบเลขอะไร 
แล้วอาจารย์ก็ให้นักศึกษาตัดกลีบดอกไม้แต่งวงกลม จำนวนกลีบตามตัวเลขที่นักศึกษาเขียนลงไป